กำหนดการวัน ดร.อุเทน  เตชะไพบูลย์ 
วันพฤหัสบดีที่  ๒๔  พฤศจิกายน  พ.ศ. ๒๕๖๕  ณ รูปเหมือน ดร.อุเทน  เตชะไพบูลย์  
และหอประชุมมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
************************************************************

เวลา ๘.๓๐ – ๙.๔๕ น.  

     - แขกผู้มีเกียรติพร้อมกัน ณ รูปเหมือน ดร.อุเทน  เตชะไพบูลย์              
     - พิธีวางพวงมาลัยดอกไม้หรือกระเช้าดอกไม้ ณ รูปเหมือน ดร.อุเทน เตชะไพบูลย์  
       โดย ทายาท ดร.อุเทน  เตชะไพบูลย์  คณะกรรมการมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง 
       คณะผู้บริหารโรงพยาบาลหัวเฉียว  มูลนิธิและสมาคมต่าง ๆ  แขกผู้มีเกียรติ     
       คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ  ตัวแทนคณะวิชาและหน่วยงาน


เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๐.๓๐ น.

     - ทุกคนพร้อมกัน ณ  หอประชุมมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 
     - อธิการบดี (รองศาสตราจารย์ ดร.อุไรพรรณ  เจนวาณิชยานนท์) กล่าวเปิด    
     - พิธีสดุดีเกียรติคุณ ดร.อุเทน  เตชะไพบูลย์
     - การแสดงดนตรีร่วมสมัยผสมผสานเปียโน กู่เจิ่ง และซอเฮ้อหู 
       ในบท “เพลงให้แผ่นดิน” ขับร้องประสานเสียงโดยนักศึกษา มหาวิทยาหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ประกอบวีดิทัศน์รำลึกถึง ดร.อุเทน  เตชะไพบูลย์
     - การแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัยชุด “นาฏะลีลา สดุดีศรีแห่งแผ่นดิน”


เวลา ๑๐.๓๐- ๑๑.๓๐ น. - พิธีมอบทุนส่งเสริมพลังคุณธรรม (ทุนพี่ช่วยน้องและบุคลากรช่วยนักศึกษา)  โดย อธิการบดี (รองศาสตราจารย์ ดร.อุไรพรรณ  เจนวาณิชยานนท์)    
     - พิธีมอบรางวัลเยาวชนจิตอาสา พร้อมโล่ที่ระลึก โดย คุณวิเชียร  เตชะไพบูลย์
     - คุณวิเชียร เตชะไพบูลย์ กล่าวขอบคุณ


HCU Article
อาการปวดศีรษะในช่วงเช้า สัญญาณเตือนสุขภาพที่ไม่ควรมองข้าม

อาการปวดศีรษะในตอนเช้าไม่ใช่เรื่องเล็กน้อย โดยเฉพาะหากเกิดซ้ำเป็นประจำ อาการดังกล่าว อาจเป็นสัญญาณเตือนถึงปัญหาสุขภาพบางประการที่ต้องได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม

การดูแลสุขภาพตามแบบแพทย์แผนจีน ทางเลือกใหม่ของคนยุคดิจิทัล

ในยุคที่คนทำงานต้องนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน อาการออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อย ทั้งอาการปวดคอ บ่า ไหล่ อาการตึงกล้ามเนื้อ และภาวะเครียดสะสม เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพระยะยาว เรามีเคล็ดลับการดูแลสุขภาพตามแบบแพทย์แผนจีนที่ทำได้เองง่าย ๆ มาแนะนำค่ะ

AI Studio คืออะไร มาทำความรู้จักกัน

AI Studio เป็นแพลตฟอร์มหรือเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถสร้าง ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ได้อย่างง่ายดาย โดยไม่ต้องมีความรู้ด้านการเขียนโค้ดมาก่อน เหมาะสำหรับนักพัฒนา, ธุรกิจ และครีเอเตอร์ที่ต้องการนำ AI ไปใช้ในงานของตัวเอง

มารู้จัก Meta AI: ปัญญาประดิษฐ์อัจฉริยะจาก Meta

ปัจจุบัน AI (Artificial Intelligence) หรือปัญญาประดิษฐ์ กลายเป็นหัวใจสำคัญของเทคโนโลยีสมัยใหม่ วันนี้เราจะพาคุณไปรู้จักกับ Meta AI หนึ่งใน AI อัจฉริยะที่ถูกพัฒนาโดยบริษัท Meta (Facebook เดิม) ที่มีบทบาทสำคัญในหลายแง่มุมของเทคโนโลยีและโซเชียลมีเดีย

รู้รอบตัวกับ ม.หัวเฉียว ตอน เลือกคณะอย่างไรให้ได้คณะที่ตรงใจ

การตัดสินใจเลือกมหาวิทยาลัยและสาขาที่จะเรียน ถือเป็นอีกหนึ่งการตัดสินครั้งสำคัญของชีวิต แม้ว่าหลายๆ คนจะมีเป้าหมายไว้ในใจอยู่แล้วว่าอยากเรียนอะไรแต่ก็ไม่เสียหายหากจะลองทบทวนและหาข้อมูลเพิ่มเติมอีกนิดหน่อย เพื่อหลักสูตรที่ใช่ ตรงกับใจ

Videos